วันอังคารที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2562

สาเหตุการเกิดอันตรายในห้องปฏิบัติการ

สาเหตุของการเกิดอันตรายในห้องปฏิบัติการ 
สาเหตุหลักๆ ส่วนใหญ่มักจะเกิดจากการขาดความรู้ ขาดจิตสำนึกด้านความปลอดภัย จึงทำให้ขาดการ เตรียมพร้อมในการป้องกัน ไม่ให้ความสำคัญกับการใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และอุปกรณ์ฉุกเฉินในห้องปฏิบัติการ นอกจากนี้ยังอาจจะมาจากการประมาท ในการปฏิบัติการกับสารเคมี 
 การจัดการเกี่ยวกับอุบัติเหตุจากสารเคมี ความเที่ยงความแม่น หน่วยวัด และวิธีการทางวิทยาศาสตร์
การทําปฏิบัติการเคมีได้อย่างปลอดภัยจะต้องคํานึงถึงเรื่องใดบ้าง
   
 ประเภทของสารเคมี
สารเคมีมีหลายประเภท แต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน สารเคมีจึงจําเป็นต้องมีฉลากที่มี ข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นอันตรายของสารเคมีเพื่อความปลอดภัยในการจัดเก็บ การนําไปใช้ และการ กําจัด โดยฉลากของสารเคมีที่ใช้ในห้องปฏิบัติการควรมีข้อมูล ดังนี้
1. ชื่อผลิตภัณฑ์
2. รูปสัญลักษณ์ แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมี 
3. คําเตือน ข้อมูลความเป็นอันตราย และข้อควรระวัง
 4. ข้อมูลของบริษัทผู้ผลิตสารเคมี
บนฉลากบรรุภัณฑ์มีสัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายที่สื่อความหมายได้ชัดเจนเพื่อให้ผู้ใช้สังเกตได้ง่าย สัญลักษณืแสดงความเป็นอันตรายมีหลายระบบ ในที่นี้จะกล่าวถึง 2 ระบบ ที่มีการใช้อย่างแพร่หลาย คือ Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS) ซึ่งเป็นระบบที่ใช้สากล และ National Fire Protection Association Hazard Identification System(NFPA) เป็นระบบที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา ซึ่งลักษณะทั้ง 2 ระบบนี้สามารถพบเห็นได้ทั่วไปบนบรรจุภัณฑ์สารเคมี

 ระบบ GHS
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ สัญลักษณ์ระบบ ghs

  ระบบ NFPA
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ สัญลักษณ์ระบบ nfpa

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

แอมโมเนียรั่ว ระทึก โรงน้ำแข็งกบินทร์บุรี หามคนงาน ชาวบ้านส่งรพ.วุ่น

เมื่อเวลา 19.00 น. วันที่ 4 เม.ย.62 พ.ต.ต.วิทูรย์ วงษ์ใหญ่ พนักงานสอบสวน สภ.กบินทร์บุรี ได้รับแจ้ง จากชาวบ้านว่า มีสารเคมีรั่วไหลภาย...